วันสารทไทย

มนุษย์เราดำรงอยู่ได้ด้วยเกษตรกรรมเป็นหลักสำคัญ ซึ่งวันสารท ถือเป็นประเพณีนิยมมาแต่โบราณและเป็นการทำบุญกลางปีของไทย ซึ่งตรงกับวันสิ้นเดือนสิบ(๑๐) หรือ วันแรม ๑๕ ค่ำ เดือนสิบ(๑๐) คือ แม้จะเป็นประเพณีที่มีส่วนมาจากลัทธิพราหมณ์ แต่ชาวไทยก็นิยมรับพระเป็นประเพณีในส่วนที่มีคุณธรรมอันดีมานั่นเอง สารท มีความหมายว่า เทศกาลทำบุญในวันสิ้นเดือนสิบ(๑๐) ตรงกับวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือนสิบ(๑๐) ของทุกปี ซึ่งในวันสารท จะมีการนำพืชพรรณธัญญาหารที่เก็บเกี่ยวมาปรุงเป็นข้าวทิพย์ และข้าวมธุปายาสถวายพระสงฆ์ “สารท”

Read more

ทอดกฐิน

ประเพณีทอดกฐิน ประเพณีการทอดกฐิน ในแต่ละปีกำหนดให้มีการจัดทอดกฐินขึ้นภายใน ๑ เดือน หลังประเพณีออกพรรษา โดยวัดที่จะสามารถรับกฐินได้ ต้องมีพระภิกษุจำพรรษาโดยไม่ขาดพรรษาเลย ไม่ต่ำกว่า ๕ รูป และแต่ละวัดสามารถรับกฐินได้ปีละ ๑ ครั้ง การทอดกฐินเป็นกาลทาน ตามพระวินัยกำหนดกาลไว้ คือ ตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงวันขึ้น 15

Read more

วันสงกรานต์

“สงกรานต์” เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า ก้าวขึ้น ย่างขึ้น หรือการเคลื่อนที่ย้ายที่ หมายถึง เวลาที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนจากราศีหนึ่งไปสู่อีกราศีหนึ่งทุก ๆ เดือน เรียกว่า สงกรานต์เดือน ยกเว้นเมื่อย้ายจากราศีมีนสู่ราศีเมษ ซึ่งเป็นสงกรานต์ปี จะเรียกชื่อพิเศษว่า “ มหาสงกรานต์” จึงเป็นวันขึ้นปีใหม่โดยวิธีนับทางสุริยคติ (วิธีนับวันและเดือนโดยถือกำหนดตำแหน่งดวงอาทิตย์เป็นหลัก)      ดังนั้นการกำหนดนับวันสงกรานต์จึงตกอยู่ในระหว่างวันที่ ๑๓, ๑๔ และ ๑๕

Read more
สนใจเว็บไซต์นี้